简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:เตือนภัย! กลโกงใหม่ใช้ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถ อย่ากดคลิกเด็ดขาด
ในหลายประเทศตอนนี้ หากได้รับข้อความ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถหรือค่าปรับการจอดรถโดยไม่ทราบสาเหตุ มีความเป็นไปได้สูงที่มันคือการหลอกลวงแบบ Phishing Scamer
การหลอกลวงลักษณะนี้พบได้ในหลายเมือง เช่น บอสตัน, ดีทรอยต์, ชาร์ลอตต์, ซานฟรานซิสโก และอื่น ๆ ข้อความที่ส่งมาจะมีลักษณะคล้ายกัน โดยมักระบุว่า
1.คุณมีค่าปรับจอดรถที่ยังไม่ได้ชำระ
2.หากไม่ชำระเงินภายในเวลาที่กำหนด ค่าปรับจะเพิ่มขึ้น
3 พร้อมแนบลิงก์สำหรับชำระเงิน ซึ่งเมื่อคลิกเข้าไปจะถูกนำไปยังเว็บไซต์ปลอมที่ดูเหมือนจริง
หากถามว่า กรณีนี้ มีโอกาสเกิดขึ้นในไทย ก็ต้องบอกว่ามีนะ เนื่องจากรูปแบบการหลอกลวงแบบ Phishing เป็นเทคนิคที่แฮกเกอร์ใช้กันทั่วโลก และประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่มีการใช้สมาร์ทโฟนและบริการ SMS ค่อนข้างมาก และในเมืองใหญ่ ๆ ของประเทศไทย เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ หรือภูเก็ต มีการใช้ระบบจอดรถออนไลน์และชำระเงินผ่านแอปพลิเคชันมากขึ้น ซึ่งอาจเป็นช่องทางให้แฮกเกอร์สร้างข้อความปลอมเพื่อหลอกลวงได้ครับ
วิธีป้องกันคือ
1.ตรวจสอบแหล่งที่มา หากได้รับ SMS แจ้งค่าปรับจอดรถ ให้ตรวจสอบว่าเบอร์โทรศัพท์ที่ส่งมาคือเบอร์ของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือหรือไม่
2.ใจร่ม ๆ อย่าเพิ่งรีบคลิกลิงก์ หากไม่แน่ใจว่าเป็นข้อความจริงหรือไม่ อย่าคลิกลิงก์ที่แนบมา ให้ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงผ่านช่องทางอื่น เช่น เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันทางการ
3.ใช้แอปพลิเคชันทางการ หากเราใช้บริการจอดรถออนไลน์ ให้ตรวจสอบค่าปรับหรือการแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชันทางการเท่านั้น
ขอบคุณข้อมูลจาก makeuseof และ techhu
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
ปอศ. เปิดปฏิบัติการ “Bye Bye Dark Wallets” บุกค้น 10 จุดทั่วประเทศ จับผู้ต้องหากลุ่มใหญ่ลักลอบให้บริการ e-Money ผิดกฎหมาย มียอดหมุนเวียนเกือบ 400 ล้านบาท พบเปิดบริการโอนเงินออกนอกโดยไม่ขออนุญาต-ไม่เสียภาษี แนะประชาชนตรวจสอบก่อนใช้บริการโอนเงินหรือ e-Money ว่าได้รับอนุญาตจากแบงก์ชาติหรือไม่ เพื่อเลี่ยงความเสี่ยงด้านกฎหมายและความปลอดภัย
VPN ไม่ได้ช่วยเสมอไป! แม้หลายคนคิดว่าใช้ VPN เข้าเว็บเทรดที่ถูกแบนได้เหมือนเดิม แต่หากฝืนล็อกอินหลังวันที่ 28 มิ.ย. 2568 อาจเข้าข่ายละเมิดคำสั่ง ก.ล.ต. และเสี่ยงผิดกฎหมาย หากเกิดปัญหา เช่น เงินหาย เว็บปิด หรือถูกโกง รัฐจะไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น ใครยังลงทุนคริปโต ควรเช็กให้แน่ใจว่าใช้แพลตฟอร์มที่ได้รับอนุญาตจริง ไม่เช่นนั้นความเสี่ยงอาจสูงเกินจะรับไหว
ในยุคที่มิจฉาชีพทางการเงินสวมคราบมืออาชีพ ความโลภและความหวังกลายเป็นช่องโหว่ให้คนฉลาดยังตกเป็นเหยื่อ รูปแบบหลอกลวงหลากหลาย ตั้งแต่แชร์ลูกโซ่ แพลตฟอร์มปลอม จนถึงการใช้ชื่อคนดัง การมีภูมิคุ้มกันทางการเงินและสติ คือเกราะป้องกันที่ดีที่สุด เพราะโจรมักเร่งให้ตัดสินใจก่อนคิดเสมอ
ปลายเดือนมิถุนายน 2568 นักลงทุนคริปโตถูกปล้นเงินสดกว่า 3.4 ล้านบาทกลางลานจอดรถห้างดังย่านลาดพร้าว ขณะทำธุรกรรมซื้อขายเหรียญดิจิทัลกับกลุ่มคนร้ายใช้อาวุธปืนและมีดในการก่อเหตุ ผู้เสียหายได้นัดหมายซื้อขายล่วงหน้า ก่อนถูกบุกปล้นและหลบหนีโดยรถยนต์ เจ้าหน้าที่ตำรวจเร่งสืบสวน พบมีการวางแผนล่วงหน้า เหตุการณ์นี้ชี้ให้เห็นความเสี่ยงสูงของการทำธุรกรรมนอกระบบและถือเงินสดจำนวนมากในตลาดคริปโต
IronFX
EC Markets
FXCM
OANDA
FXTM
HFM
IronFX
EC Markets
FXCM
OANDA
FXTM
HFM
IronFX
EC Markets
FXCM
OANDA
FXTM
HFM
IronFX
EC Markets
FXCM
OANDA
FXTM
HFM