简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:แอดเหยี่ยวพาทุกคนมาทำความรู้จักกับโบรกเกอร์แบบ No Dealing Desk (NDD) ที่ส่งคำสั่งไปยังตลาดกลางโดยตรง ไม่มีการแทรกแซงจากโบรกเกอร์ ซึ่งแตกต่างจาก Dealing Desk (DD) ที่จัดการคำสั่งเอง การใช้โบรกเกอร์ NDD ทำให้มั่นใจในความโปร่งใสและไม่มีการปรับแต่งกราฟหรือคำสั่งซื้อขาย
แอดเหยี่ยวขอพาทุกคนมาสำรวจโลกของโบรกเกอร์แบบ No Dealing Desk (NDD) กันหน่อยดีกว่า! หลายคนอาจจะเคยได้ยินชื่อ แต่ยังไม่เคยรู้ลึกว่ามันต่างจาก Dealing Desk (DD) ยังไง และทำไมนักเทรดหลายคนถึงมั่นใจในความโปร่งใสของมัน บอกเลยว่าถ้าอยากเทรดแบบสบายใจ ไม่ต้องห่วงกราฟโดนตุกติก บทความนี้มีคำตอบ
โบรกเกอร์ประเภท No Dealing Desk (NDD) คือโบรกเกอร์ที่ส่งคำสั่งซื้อขายของผู้ใช้งานเข้าสู่ตลาดกลางของ Forex โดยตรง โดยไม่ผ่านเซิร์ฟเวอร์ของโบรกเกอร์ก่อน ซึ่งหมายความว่าโบรกเกอร์ประเภทนี้ไม่แทรกแซงคำสั่งซื้อขายของลูกค้า ทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลางในการส่งต่อคำสั่งไปยังตลาดเท่านั้น
โบรกเกอร์ NDD ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดยมีรายได้จากการเก็บค่าคอมมิชชั่นหรือค่าสเปรด ซึ่งจำนวนขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโบรกเกอร์ การส่งคำสั่งซื้อขายไปที่ตลาดกลางโดยตรงทำให้ลูกค้ารู้สึกมั่นใจได้ว่าโบรกเกอร์จะไม่ปรับแต่งกราฟหรือแทรกแซงคำสั่งซื้อขาย
ประเภทของโบรกเกอร์แบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก:
จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าการเลือกโบรกเกอร์ที่ส่งคำสั่งไปยังตลาดกลางโดยตรง (NDD) มักให้ความรู้สึกสบายใจและเชื่อมั่นในความโปร่งใสของการดำเนินการ
ขอบคุณข้อมูลจาก thaiforexreview
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
GVD Markets ออกคำเตือนด่วนถึงนักเทรดทั่วโลก หลังพบเว็บไซต์ปลอมในอินโดนีเซียแอบอ้างชื่อและโลโก้ของบริษัท เพื่อหลอกลวงให้ผู้ใช้ฝากเงิน ก่อนยึดทรัพย์สินโดยผิดกฎหมาย เหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อทั้งนักลงทุนรายย่อยและสถาบันการเงิน GVD Markets จึงร่วมกับ WikiFX เร่งตรวจสอบ พร้อมแนะนำให้นักเทรดตรวจสอบข้อมูลโบรกเกอร์ผ่านแพลตฟอร์มที่เชื่อถือได้ และรายงานกิจกรรมต้องสงสัยทันที เพื่อป้องกันการตกเป็นเหยื่อของการฉ้อโกงออนไลน์ในอนาคต
Michael Bamber เทรดเดอร์สายกองทุน แชร์ 5 หลักการเร่งเส้นทางสู่ความสำเร็จในตลาด Forex โดยไม่ต้องลองผิดลองถูกนานปี เน้นวินัย ระบบความเสี่ยงที่ชัดเจน คุมขาดทุนรายวัน มีกลยุทธ์สำรอง และควบคุม Drawdown จุดสำคัญคือ “อยู่รอด” ไม่ใช่แค่ “ได้เยอะ” – เพราะตลาดมีทุกวัน แต่พอร์ตพังได้แค่ครั้งเดียว.
บทความนี้พาผู้อ่านไปรู้จักกับ “ดาร์กเว็บ” พื้นที่ลับของอินเทอร์เน็ตที่มักใช้ในการซื้อขายข้อมูลผิดกฎหมาย เช่น บัญชีการเงิน ข้อมูลบัตรเครดิต และซอฟต์แวร์แฮกระบบ ซึ่งกลายเป็นภัยคุกคามสำคัญต่อความปลอดภัยของนักเทรด โดยเฉพาะในยุคที่การลงทุนเชื่อมโยงกับโลกออนไลน์อย่างแน่นแฟ้น บทความยังแนะนำวิธีป้องกันตัวเอง 5 ข้อ เช่น ใช้ 2FA และตั้งรหัสผ่านอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อมูลส่วนตัวหลุดไปยังพื้นที่อันตรายเหล่านี้ พร้อมย้ำว่า “การรู้เท่าทัน” คือเกราะป้องกันชั้นแรกของนักลงทุนยุคดิจิทัล.
วงการคริปโตในไทยอาจได้รับผลกระทบครั้งใหญ่ หลัง Binance มีแนวโน้มจะถอด “เงินบาท” ออกจากระบบซื้อขายแบบ P2P ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง ก.ล.ต. ไทยออกมาตรการควบคุมธุรกรรมคริปโตอย่างเข้มงวด เพื่อต่อสู้กับบัญชีม้าและการฟอกเงิน โดย Binance ยังไม่ระบุวันชัดเจน แต่ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจส่งผลต่อพฤติกรรมนักลงทุนและภาพรวมตลาดคริปโตในประเทศ.
FOREX.com
Pepperstone
Neex
IB
GO MARKETS
OANDA
FOREX.com
Pepperstone
Neex
IB
GO MARKETS
OANDA
FOREX.com
Pepperstone
Neex
IB
GO MARKETS
OANDA
FOREX.com
Pepperstone
Neex
IB
GO MARKETS
OANDA